Show simple item record

dc.contributor.authorPhophueksanand, Narongen_US
dc.contributor.authorPuangsang, Maythikaen_US
dc.contributor.authorณรงค์ โพธ์พิฤกษานันท์
dc.contributor.authorเมทิกา พ่วงแสง
dc.date.accessioned2016-08-31T09:43:58Z
dc.date.available2016-08-31T09:43:58Z
dc.date.issued2016-08-31
dc.identifier.urihttp://repository.rmutp.ac.th/handle/123456789/1947
dc.descriptionรายงานการวิจัย -- มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร, 2558en_US
dc.description.abstractการวิจัยเรื่อง “รูปแบบการจัดการความรู้งานวิจัยข้ามสถาบัน” มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษารูปแบบการจัดการความรู้งานวิจัยข้ามสถาบัน 2.) เปรียบเทียบรูปแบบการวัดการความรู้งานวิจัยของมหาวิทยาลัยที่เป็นสมาชิกเครือข่ายวิจัยประชาชื่น 3.) พัฒนารูปแบบการจัดการความรู้งานวิจัยของเครือข่ายวิจัยประชาชื่นเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน 4.) ศึกษาข้อเสนอแนะการปฏิบัติการตามรูปแบบการจัดการความรู้งานวิจัยข้ามสถาบันของเครือข่ายวิจัยประชาชื่น เพื่อนำเสนอรูปแบบในการจัดการความรู้งานวิจัยข้ามสถาบันสู่สาธารณชน ผู้วิจัยได้สรุปผลการศึกษาปัจจัยที่ทา ให้ KM ประสบความสำเร็จ ดังนี้ 1.)วัฒนธรรมและพฤติกรรมของคนในองค์กร : คนในองค์กรต้องมีความเจตคติที่ดีในการแบ่งปันความรู้ และนาความรู้ที่มีอยู่มาเป็ นฐานในการต่อยอดความรู้ของคนรุ่นใหม่ต่อไป องค์กรเองต้องมีวัฒนธรรมภายในแห่งความไว้เนื้อเชื่อใจ และให้เกียรติกัน เคารพในสิทธิและความคิดของผู้ร่วมงานในทุกระดับแม้เป็นบุคลากรระดับล่างก็ตาม การเรียนรู้สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกเรื่องแม้แต่สิ่งที่เป็นข้อผิดพลาดในอดีต 2.) ผู้นำ และการสร้างกลยุทธ์ : ผู้บริหารระดับสูงต้องมีความเชื่อในคุณค่าของคนและความรู้ที่มีในองค์กร เข้าใจในลักษณะของปัญหาและพันธะกิจขององค์กร ส่งเสริมและสนับสนุนความเป็นมืออาชีพในด้านต่างๆให้เกิดขึ้น ค้นหาและเชิดชูกระบวนการทา งานที่เป็นเลิศจากหน่วยงานภายใน เป็นต้นแบบแห่งการเป็นผู้ริเริ่มในการแบ่งปันและเรียนรู้ กำหนดทิศทางในการพัฒนาระบบการจัดการความรู้ภายใน วางกลยุทธ์ในการจัดทา ระบบการจัดการองค์ความรู้ที่จะประสบผลสัมฤทธ์เช่น เลือกเรื่องที่ทำ แล้วเห็นผล หรือเรื่องที่มีคนเข้าใจและมีองค์ความรู้อยู่แล้วในองค์กร ที่สำคัญที่สุดคือทำ อย่างไรให้คนในองค์กรอยากนา เรื่องที่ตนรู้ออกมาแบ่งปันโดยไม่หวาดระแวงว่าจะเสียผลประโยชน์ ถูกแอบอ้างผลงาน ต่างๆนานา องค์กรที่จะประสบความสาเร็จในเรื่องนี้ต้องสร้างอยู่บนพื้นฐานของความไว้เนื้อเชื่อใจ(Trust) และการให้เกียรติซึ่งกันและกัน(Mutual respect) โดยกุญแจสาคัญที่จะไขประตูสู่โลกที่เปิดกว้างนี้คือผู้บริหารสูงสุดขององค์กรนั่นเองen_US
dc.description.sponsorshipRajamangala University of Technology Phra Nakhonen_US
dc.language.isothen_US
dc.subjectการจัดการความรู้en_US
dc.titleรูปแบบการจัดการความรู้งานวิจัยข้ามสถาบันen_US
dc.title.alternativeการบริหารองค์ความรู้en_US
dc.title.alternativeการเรียนรู้องค์การen_US
dc.title.alternativeการจัดการความรู้en_US
dc.typeResearch Reporten_US
dc.contributor.emailauthor[email protected]
dc.contributor.emailauthor[email protected]


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record